โรคหัวใจคืออะไร ?
โรคหัวใจเกิดจากความผิดปกติ ด้านการทำงานของหัวใจ และส่งผลเสียกับร่างกาย ซึ่งโรคหัวใจแบ่งออกได้เป็นหลายกลุ่ม เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคกล้ามเนื้อหัวใจ ลิ้นหัวใจ หัวใจเต้นผิดจังหวะ หรือหัวใจผิดปกติตั้งแต่กำเนิด
อาการที่บ่งบอกว่าเป็นโรคหัวใจ
โดยปกติแล้ว อาการโรคหัวใจขึ้นอยู่กับชนิดของโรคหัวใจที่ผู้ป่วยเป็น แต่โดยส่วนใหญ่จะมาอาการที่จะช่วยให้เราสังเกตตัวเองได้ หลักๆ อยู่ 5 อาการ ได้แก่...
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคหัวใจ
สาเหตุที่ทำให้เกิดโรคหัวใจ จะมีหลายสาเหตุ โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ได้แก่...
กลุ่มที่ 1 ปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น...
กลุ่มที่ 2 ปัจจัยที่สามารถควบคุมได้ เช่น...
การวินิจฉัย ตรวจหาโรคหัวใจ สามารถทำได้โดยวิธีใดบ้าง ?
รูปแบบการรักษาโรคหัวใจ
รูปแบบและวิธีการรักษาโรคหัวใจนั้น จะแตกต่างออกไปตามประเภทของโรคหัวใจที่ผู้ป่วยเป็นอยู่ รวมถึงข้อจำกัด และดุลยพินิจของแพทย์ แต่โดยทั่วไปมักจะใช้วิธีการรักษา ดังนี้...
ทั้งนี้ไม่ว่าจะใช้การรักษาแบบใด แต่สุดท้ายแล้ว ขั้นตอนที่สำคัญไม่แพ้กัน จะหนีไม่พ้นเรื่องการติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง การรักษาควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่างๆ การดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจให้แข็งแรง การออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ พัะกผ่อนให้เพียงพอ หลีกเลี่ยงความเครียด จะช่วยลดความเสี่ยงในการกลับมาเป็นซ้ำได้
บทความโดย
นพ. ไพบูลย์ เชี่ยวชาญธนกิจ
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน